THE สังคมผู้สูงอายุ DIARIES

The สังคมผู้สูงอายุ Diaries

The สังคมผู้สูงอายุ Diaries

Blog Article

“หากอยู่อาศัยกับบุตรหลานโดยตรง ผู้สูงอายุมักจะไม่ได้รับเงินจากบุตรหลานมากนัก แต่จะได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิดแทน ตรงข้ามกับผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ลำพังที่จะได้รับเงินจากบุตรหลาน แต่ขาดการดูแลอย่างใกล้ชิด ซึ่งถือเป็นเรื่องปกติ เพราะบุตรหลานอยู่ไกลจากพ่อแม่ การถ่ายโอนเงินและเวลาในครอบครัวสะท้อนถึงค่านิยมเรื่องของความกตัญญู” รศ.ดร.นพพล เผย

นอกจากดูแลการกินอยู่ในชีวิตประจำวันของหลาน ๆ แล้ว อีกบทบาทของผู้สูงวัยในครอบครัวข้ามรุ่น คือ การอบรมกล่อมเกลานิสัยและการดูแลเรื่องการศึกษา

นี่เป็นความท้าทายที่ทุกประเทศต้องเผชิญ เพียงแต่ผลที่จะเกิดขึ้นอาจรวดเร็วและรุนแรงแตกต่างกัน ประเทศพัฒนาแล้วมีแนวโน้มเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุเร็วกว่าประเทศกำลังพัฒนา ประเทศในแถบยุโรปส่วนใหญ่เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุแล้ว ตามมาด้วยประเทศในเอเชีย ได้แก่ ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ สิงคโปร์ รวมถึงไทย

ประเด็นสืบสวน ความโปร่งใสภาคธุรกิจ

"เงินซื้อข้าวก็ไม่มี ซื้อนมก็ไม่มี ต้องถือหม้อข้าวไปขอน้ำข้าวจากบ้านอื่น ใครหุงข้าวก็ไปขอ กลับมาก็เทใส่กระติกน้ำร้อนไว้ให้มันอุ่น เอาเกลือใส่ไปหน่อยแล้วใส่ขวดนมให้เค้าดูด พอโตมาหน่อยยายก็หาบของขาย ตาก็อยู่บ้านกับหลาน"

- ศูนย์การเรียนรู้และฝึกอบรมด้านผู้สูงอายุ จังหวัดชลบุรี

The cookie is set by GDPR cookie consent to report the user consent for that cookies within the group "Functional".

“จากงานวิจัยในจีน แม้ว่าจำนวนผู้สูงอายุที่ระบุว่าต้องการอยู่ตามลำพังอาจจะมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น แต่เราไม่มีทางรู้ได้ว่า ถ้าเลือกได้ ผู้สูงอายุอยากจะอยู่ตามลำพังจริงไหม และถ้าต้องอยู่ตามลำพัง จะอยู่ได้ไหม งานวิจัยในยุคหลังหันมาให้ความสนใจกับการใช้ชีวิตของผู้สูงอายุตามลำพังมากขึ้น และเน้นไปที่การประดิษฐ์เทคโนโลยีเพื่อช่วยผู้สูงอายุที่อยู่ตามลำพัง เช่น การเปลี่ยนบ้านให้เป็น wise house การผลิตเทคโนโลยีขอความช่วยเหลือในกรณีฉุกเฉิน และการติดตั้งอุปกรณ์เพื่อความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินที่ผู้สูงอายุสามารถจัดการได้เอง ในปัจจุบัน การทำบ้านในลักษณะนั้นเป็นเรื่องของตลาด อยากอยู่ต้องมีเงิน แต่ถ้าไม่มีเงิน รัฐควรจะช่วยเหลือหรือไม่ อย่างไร ประเด็นเหล่านี้ต้องไขกันต่อ หากเราต้องการให้ผู้สูงอายุสามารถพึ่งพาตัวเองให้ได้มากที่สุดและนานที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้”

ประเทศไทยเข้าสู่สังคมสูงวัยอย่างสมบูรณ์

ช่องว่างและการเติบโตของตลาดผู้สูงอายุในประเทศ

เมื่ออายุมากขึ้นร่างกายของผู้สูงวัยก็ร่วงโรย ฟันก็เป็นอีกอวัยวะที่ร่วงหลุดและผุพังจนเป็นอุปสรรคต่อการกินอาหาร เป็นเหตุให้ผู้สูงวัยที่ร่างกายอ่อนแอ เพราะขาดสารอาหาร

นโยบายคุกกี้

เดินหน้าความร่วมมือระดับภูมิภาคเพื่อสังคมสูงวัย

ร่วมกันเปลี่ยน “ภาระ” สังคมผู้สูงอายุ เป็น “พลัง” ของชาติ.

Report this page